พุทธวจน...ความพอใจ เป็นเหตุแห่งทุกข์
ความพอใจ เป็นเหตุแห่งทุกข์
“ทุกข์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต
ทุกข์ทั้งหมดนั้น มีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ
เพราะว่า ฉันทะ (ความพอใจ) เป็นมูลเหตุแห่งทุกข์
ทุกข์ใด ๆ อันจะเกิดขึ้นในอนาคต
ทุกข์ทั้งหมดนั้น ก็มีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ
เพราะว่า ฉันทะ (ความพอใจ) เป็นมูลเหตุแห่งทุกข์
และทุกข์ใด ๆ ที่เกิดขึ้น
ทุกข์ทั้งหมดนั้น ก็มีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ
เพราะว่า ฉันทะ (ความพอใจ) เป็นมูลเหตุแห่งทุกข์”.
สฬา. สํ. ๑๘/๔๐๓/๖๒๗.
ทุกข์ทั้งหมดนั้น มีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ
เพราะว่า ฉันทะ (ความพอใจ) เป็นมูลเหตุแห่งทุกข์
ทุกข์ใด ๆ อันจะเกิดขึ้นในอนาคต
ทุกข์ทั้งหมดนั้น ก็มีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ
เพราะว่า ฉันทะ (ความพอใจ) เป็นมูลเหตุแห่งทุกข์
และทุกข์ใด ๆ ที่เกิดขึ้น
ทุกข์ทั้งหมดนั้น ก็มีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ
เพราะว่า ฉันทะ (ความพอใจ) เป็นมูลเหตุแห่งทุกข์”.
สฬา. สํ. ๑๘/๔๐๓/๖๒๗.
จิตที่มีฉันทะ
(ความพอใจ) เป็นมูลเหตุแห่งทุกข์
จิตที่ละฉันทะ (ละความพอใจ)ได้นั้น เพียงแต่รู้ถึงความพอใจนั้นเฉยๆ ไม่ไปยึดมั่นถือมั่นในความพอใจนั้น ย่อมเป็นมูลเหตุแห่งความไม่ทุกข์ = จิตที่ว่างจากการคิดนึกอันเกิดจากกิเลสตัณหา เมื่อกิเลสตัณหาไม่มี จึงรู้ถึงความพอใจนั้นเฉยๆ ไม่ไปยึดมั่นถือมั่นในความพอใจนั้น เป็นมูลเหตุแห่งความดับทุกข์ทางใจ
แต่ร่างกายมนุษย์ยังต้องการปัจจัย 4 ในการยังชีวิตอยู่ ดังนั้นแม้จิตไม่มีกิเลสตัณหาแล้ว แต่ร่างกายก็บีบให้เป็นทุกข์ทางกายอยู่ดี มนุษย์ที่เป็นพระอรหันต์ จึงต้องทิ้งจิตมนุษย์ และทิ้งกายมนุษย์ เข้าไปเป็นจิตพระเจ้า(พระอรหันต์) และกายพระเจ้า(พระอรหันต์) ที่เรียกว่า ธรรมกาย และกายทิพย์สัมโภคกาย แล้วย้ายที่อยู่ไปอยู่ในเมืองนิพพาน ซึ่งทุกอย่างเป็นทิพย์ จึงจะพ้นจากความต้องการปัจจัย 4 ที่เกิดจากธาตุดิน น้ำ ลม ไฟเพื่อการยังชีพ
จิตที่ละฉันทะ (ละความพอใจ)ได้นั้น เพียงแต่รู้ถึงความพอใจนั้นเฉยๆ ไม่ไปยึดมั่นถือมั่นในความพอใจนั้น ย่อมเป็นมูลเหตุแห่งความไม่ทุกข์ = จิตที่ว่างจากการคิดนึกอันเกิดจากกิเลสตัณหา เมื่อกิเลสตัณหาไม่มี จึงรู้ถึงความพอใจนั้นเฉยๆ ไม่ไปยึดมั่นถือมั่นในความพอใจนั้น เป็นมูลเหตุแห่งความดับทุกข์ทางใจ
แต่ร่างกายมนุษย์ยังต้องการปัจจัย 4 ในการยังชีวิตอยู่ ดังนั้นแม้จิตไม่มีกิเลสตัณหาแล้ว แต่ร่างกายก็บีบให้เป็นทุกข์ทางกายอยู่ดี มนุษย์ที่เป็นพระอรหันต์ จึงต้องทิ้งจิตมนุษย์ และทิ้งกายมนุษย์ เข้าไปเป็นจิตพระเจ้า(พระอรหันต์) และกายพระเจ้า(พระอรหันต์) ที่เรียกว่า ธรรมกาย และกายทิพย์สัมโภคกาย แล้วย้ายที่อยู่ไปอยู่ในเมืองนิพพาน ซึ่งทุกอย่างเป็นทิพย์ จึงจะพ้นจากความต้องการปัจจัย 4 ที่เกิดจากธาตุดิน น้ำ ลม ไฟเพื่อการยังชีพ
สวรรค์ชั้นดุสิต
แตกต่างจากพุทธเกษตรชั้นดุสิตอย่างไร?
มีความเชื่อผิดๆในหมู่ชาวพุทธเถรวาทแม้แต่มหายานว่า
สวรรค์ชั้นดุสิตเป็นที่เดียวกับพุทธเกษตรดุสิต และเป็นที่สถิตของเทพพรหมบรมครู
และพระโพธิสัตว์ผู้ที่จะมาประสูติตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต
แต่ความจริงนั้นไม่ใช่เลย สวรรค์ชั้นดุสิต ผู้ที่ไม่ได้เป็นเทพพรหมบรมครู และไม่ได้เป็นพระโพธิสัตว์ผู้ที่จะมาประสูติตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตก็อาศัยอยู่ได้ เช่น ผู้เป็นมารดาของพระพุทธเจ้าก็อยู่ได้ ผู้เป็นเทพบริวารของพระโพธิสัตว์ก็อยู่ได้ แต่พุทธเกษตรดุสิตนั้นมีแต่ผู้ที่ได้บรรลุธรรมเป็นอรหันต์จึงจะอยู่ได้
แต่ความจริงนั้นไม่ใช่เลย สวรรค์ชั้นดุสิต ผู้ที่ไม่ได้เป็นเทพพรหมบรมครู และไม่ได้เป็นพระโพธิสัตว์ผู้ที่จะมาประสูติตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตก็อาศัยอยู่ได้ เช่น ผู้เป็นมารดาของพระพุทธเจ้าก็อยู่ได้ ผู้เป็นเทพบริวารของพระโพธิสัตว์ก็อยู่ได้ แต่พุทธเกษตรดุสิตนั้นมีแต่ผู้ที่ได้บรรลุธรรมเป็นอรหันต์จึงจะอยู่ได้
0 comments:
แสดงความคิดเห็น